ใกล้เข้ามาแล้วสำหรับการประกาศใช้ พ.ร.บ. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฉบับใหม่ ซึ่งมีแผนจะเริ่มใช้ต้นปีหน้านี้ แทนพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน และ พระราชบัญญัติภาษีบํารุงท้องที่
โดยการเข้ามาของพ.ร.บ. ภาษีที่ดินฯ ฉบับใหม่นี้ ได้ส่งผลกระทบต่อแวดวงอสังหาริมทรัพย์เข้าอย่างจัง เพราะเป็นพ.ร.บ.ที่มีจุดประสงค์เพื่อต้องการลดการถือครองที่ดินเพื่อการเก็งกำไรในตลาดอสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม พ.ร.บ.ฉบับนี้ยังมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกมาก โดยวันนี้เราจะพามารู้จักพ.ร.บ.ฉบับใหม่นี้ให้มากขึ้นกันค่ะ
.
บุคคลที่ได้รับผลกระทบจากพ.
1. เจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร
2. เจ้าของอาคารชุด
3. ผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ใ
โดย “เจ้าของ” ในที่นี้ก็คือผู้ถือกรรมสิท
1. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่
2. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่
3. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่
4. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างปล่
1. สำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร
หากมูลค่าของฐานภาษีนั้นไม่
2. สำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร
ในกรณีที่มูลค่าของฐานภาษีไ
3. สำหรับบ้านพักหลังที่ 2,3,4 ในกรณีที่ “ไม่ได้” ปล่อยเช่า หรือ นำไปใช้ในเชิงพาณิชย์
ถ้าบ้านมูลค่าไม่เกิน 50 ล้าน ต้องเสียภาษีร้อยละ 0.02 สำหรับมูลค่ามากกว่า 50 แต่ไม่เกิน 75 ล้าน ต้องเสีย ร้อยละ 0.03 และ ต้องเสียร้อยละ 0.05 เมื่อทรัพย์สินมีมูลค่ามากก
4. สำหรับการครอบครองที่ดิน สิ่งปลูกสร้างสำหรับการปล่อ
ถ้าทรัพย์สินมีมูลค่าไม่เกิ
5. สำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร
ให้เสียภาษีตามอัตราเดียวกั
:: ถ้าไม่จ่ายจะเกิดอะไรขึ้น? ::
ตามกฎหมายระบุไว้ว่า ผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดิน ต้องชำระภาษีภายในเดือนเมษายน ของปีนั้น ๆ ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งหากเกินระยะเวลาดังกล่าว จะมีหนังสือเตือน รวมถึงมีค่าปรับเพิ่ม และไม่สามารถ โอนกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครองในที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งก็คือขายสินทรัพย์ไม่ได้นั่นเอง
สำหรับค่าปรับ เจ้าของทรัพย์สินจะต้องเสียค่าปรับร้อยละ 10 ของจำนวนเงินที่ค้างชำระ หากเลยกำหนดแล้วแต่มีการชำระก่อนที่จะมีหนังสือแจ้งเตือนจะมาถึง แต่ถ้าเลยกำหนดแล้ว ได้หนังสือแจ้งเตือนมาแล้ว และได้จ่ายตามกำหนดที่ระบุไว้ในหนังสือแจ้งเตือนจะเสียค่าปรับร้อยละ 20 ของจำนวนที่ค้างชำระ แต่ถ้ายังไม่ได้จ่ายอีก ก็ให้เสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1 ต่อเดือน ของจำนวนภาษีที่ค้างชำระ
การเกิดขึ้นมาของพ.ร.บ.ภาษี
อย่างไรก็ตาม พ.ร.บ.ฉบับนี้ สามารถส่งผลทั้งดีและไม่ดีต
ในด้านของ ดีเวลลอปเปอร์ ก็มีแนวโน้มที่จะไม่อยากถือ
สำหรับผู้ที่ปล่อยเช่าคอนโด